ทฤษฎีสมองสามส่วน ถูกใช้อธิบายพฤติกรรม และความคาดหวังที่แตกต่างกันได้

เห็นพฤติกรรมของมนุษย์ และการวิพากษ์วิจารณ์แล้ว
ทำให้นึกถึงว่า มนุษย์ใช้สมองแต่ละส่วนไม่เหมือนกัน
บางคนก็ใช้ก้านสมองคิด แต่บางคนแสดงความคาดหวังด้วยสมองส่วนหน้า
ย่อมคิดเห็นแตกต่างกัน .. อย่างแน่นอน

สมองสามส่วน (Triune brain) คือ โมเดลวิวัฒนาการของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และพฤติกรรม นำเสนอโดย พอล แมคลีน (Dr.Paul MacLean) นายแพทย์และนักวิชาการด้านจิตเวช ใช้อธิบายวิวัฒนาการด้านการเจริญเติบโตของมนุษย์ และพัฒนาการที่เป็นไปตามวัย ว่าเด็กก็จะใช้สมองส่วนในตามสัญชาตญาณ โตขึ้นหน่อยก็ใช้สองส่วนกลางมากขึ้น เป็นผู้ใหญ่ก็จะใช้สมองส่วนหน้าที่คิด วิเคราะห์ แยกแยะมากขึ้น

http://en.wikipedia.org/wiki/Triune_brain

เครือข่ายสมอง (Brain Networks) แบ่งหน้าที่ได้ 3 ส่วน
1.  เรปทิเลียนเบรน (Reptilian Brain) : Instinctive Mind
เป็นส่วนสมองของสัตว์เลื้อยคลาน
Non-concious, geared for survival and regulating major body processes
พฤติกรรมที่ไม่ใช้สติ ไม่มีความรู้ตัว ทำโดยสัญชาตญาณ มุ่งเอาตัวรอด ควบคุมการทำงานของร่างกาย เช่น ดื่มน้ำเพราะกระหาย
2. ลิมบิกเบรน (Limbic Brain) หรือ โอลด์แมมมาเลียนเบรน (Old Mammalian brain) : Emotional Mind
เป็นส่วนสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมยุคเก่า
Emotional command centre, running all basic social interactions, part conscious
ศูนย์ความคุมอารมณ์ มีส่วนร่วมกับสังคม เป็นส่วนที่ใช้สติ มีความรู้ตัว
3. คอร์เทกซ์ใหม่ (Neocortex Brain) : Analytical Mind
เป็นส่วนสมองของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
Higher functions, analytical thinking, decision making (especially at the front)
ทำหน้าที่สูงขึ้น คิดวิเคราะห์ มีกระบวนการตัดสินใจ เป็นสมองส่วนหน้า
โดย  เจมส์ พาร์สันส์ (James Parsons)

! http://www.iedp.com/Blog/Brain_Networks_Effective_Leadership

ทฤษฎีสมองสามส่วน (Triune brain theory)
It is for example meaningful for many people to distinguish between “head, heart and hands” or “thinking, feeling and gut instinct”
1. The Brain Stem (Reptilian Brain)
The oldest and most critical part of the brain for survival is the basal ganglia – sometimes called the reptilian brain as birds and other non mammals also primarily driven by this structure.
2. The Limbic System( Midbrain)
We share this part of the brain with cats and dogs which is why they make such good pets.
3. The New Brain
The neocortex, found only in certain “higher” mammals is associated with functions such as language, abstraction, planning and logical thought.
โดย มาร์ค เวลช์ (Mark Walsh, lead trainer at Integration Training)

! http://integrationtraining.co.uk/blog/2010/10/brains-of-training-triune-brain-theory.html

1 thought on “ทฤษฎีสมองสามส่วน ถูกใช้อธิบายพฤติกรรม และความคาดหวังที่แตกต่างกันได้”

  1. Pingback: โครงสร้างของสมอง (Brain Structure) 3 ชั้น หรือสมองสามระบบ (Triune brain) « แลกเปลี่ยนเรียนรู้:km tool

Comments are closed.